ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรักษา ที่ได้มาตรฐาน
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ผู้ป่วยหายขาดจากโรค
กลยุทธ์
โรคฉุกเฉิน เฉียบพลัน
โรคเรื้อรัง DM HT CKD COPD
โรคติดต่อ อุบัติการณ์ซ้ำ
สุขภาพจิต ยาเสพติด
ยุทธศาสตร์ที่ 2ระบบบริการสุขภาพแบบบูรณาการ 5 กลุ่มวัย
กลยุทธ์
2.1พัฒนาระบบบริการสุขภาพแม่และเด็ก
2.2พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยเรียน(6-14ปี)
2.3พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น(15-24ปี)
2.4พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (25-59ปี)
2.5พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ(60ปีขึ้นไป)
2.6พัฒนาระบบฟื้นฟูสุขภาพกลุ่มคนพิการ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กลยุทธ์
3.1พัฒนาระบบเครือข่ายในโรงพยาบาล
3.2พัฒนาบุคลากรด้านสารสนเทศในโรงพยาบาล
3.3พัฒนาระบบการบำรุงดูแลรักษาและสำรองอุปกรณ์สารสนเทศ
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ระบบควบคุมโรค อนามัยสิ่งแวดล้อม และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
กลยุทธ์
4.1พัฒนาอำเภอควบคุมโรคที่เข้มแข็งแบบยั่งยืน
4.2พัฒนาตามมาตรฐาน Green and Clean Hospital
4.3พัฒนาการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค
4.4พัฒนาระบบงานอนามัยสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ระบบทรัพยากรบุคคลและงานวิจัยด้านสุขภาพคุณภาพบริการ
กลยุทธ์
5.1พัฒนาระบบบุคลากร การคัดสรร คัดเลือก กำกับ และประเมินผล
5.2พัฒนาศักยภาพบุคลากรเฉพาะด้าน
5.3พัฒนาคุณภาพผลงานวิชาการผ่านเครือข่าย R2R,CQI
5.4พัฒนาสุขภาพบุคลากรและสร้างความผูกพันต่อองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ระบบการบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์
6.1พัฒนาระบบจัดหารายได้เพิ่มและลดรายจ่าย
6.2พัฒนาระบบจัดสรรทรัพยากร
6.3พัฒนาระบบควบคุมภายในและระบบ ITA
6.4พัฒนาระบบจัดการหนี้สิน
ยุทธศาสตร์ที่ 7 ระบบการฟื้นฟูสภาพ
แผนยุทธศาสตร์นี้เป็นแผนสองปี
Core Competencyโรงพยาบาลบ้านเขว้า
1.เป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญด้านการคัดกรองผู้ป่วยเบื้องต้น(Early Detect) ค้นหาโรคสำคัญ5 โรคได้แก่
- AMI
- Stroke
3.มะเร็งตับ
- DHF
- Sepsis
- เป็นองค์กรที่มีความเชี่ยวชาญในการดูแลผู้ป่วย Long Term Care
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรักษา ที่ได้มาตรฐาน
เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์
ผู้ป่วยหายขาดจากโรค
กลยุทธ์
โรคฉุกเฉิน เฉียบพลัน อุบัติเหตุ sepsit
โรคเรื้อรัง DM HT CKD COPD / หอบหืด
โรคติดต่อ อุบัติการณ์ใหม่ซ้ำ ภัยคุกคามสุขภาพ ( TB FLU HIV DHF RB )
สุขภาพจิต
ยาเสพติด (ผู้ติดยา)
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน (Ischemic Stroke
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic Stroke
อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke ;I60-I69)การรักษาใน Stroke Unit
ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่มีอาการไม่เกิน 72 ชั่วโมงได้รับการรักษาใน Stroke Unitระยะเวลาที่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/อุดตันระยะเฉียบพลัน ที่มีอาการไม่เกิน 4.5 ชั่วโมงได้รับการรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดทางหลอดเลือดดำภายใน 60 นาที (door to needle time)
ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแตก ได้รับการผ่าตัดสมองภายใน 90 นาที (door to operation room time)
อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired
ร้อยละผู้ติดยาเสพติด ที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดและ ได้รับการติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate 1 year)
ร้อยละของผู้ใช้ ผู้เสพที่บำบัดครบตามเกณฑ์ที่กำหนดของแต่ละระบบหยุดเสพต่อเนื่องหลังจำหน่ายจากการบำบัด 3 เดือน (3 month remission rate)
อัตราเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤติฉุกเฉิน (triagel level 1) ภายใน 24 ชม. ใน โรงพยาบาล A, S, M1
ร้อยละผู้ที่มีอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองเบาหวานโดยตรวจระดับน้ำตาลในเลือด
ร้อยละผู้ที่มีอายุ 35-74 ปี ได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
ยุทธศาสตร์ที่ 2 ระบบบริการส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย
กลยุทธ์
2.1พัฒนาระบบบริการสุขภาพแม่และเด็ก ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย 1000 วัน พัฒนาการเด็ก
แรกเกิด ถึง 5 ปี
2.2พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยเรียน(6-14ปี) จมน้ำ
2.3พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น(15-24ปี) ยาเสพติด(ส่งเสริม) ท้องไม่พร้อม to be no 1
2.4พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (25-59ปี) อาชีวอนามัย สารเคมี การคัดกรอง DPAC
โรคจาการประกอบอาชีพ
2.5พัฒนาระบบบริการสุขภาพกลุ่มผู้สูงอายุ (60ปีขึ้นไป) ผู้สูงอายุไม่พึ่งพึงใคร
ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ
ร้อยละ 20 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับการคัดกรองพัฒนาการ พบสงสัยล่าช้า
ร้อยละ 90 ของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการติดตาม
ร้อยละ 60 ของเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ที่ได้รับการกระตุ้น และติดตามภายใน 30 วัน
ร้อยละเด็กได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ และติดตามกระตุ้นกรณีที่มีพัฒนาสงสัยล่าช้า
ร้อยละ 80 ของเด็กอายุ 9, 18, 30, 42 เดือน ที่ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ำในหญิงอายุน้อยกว่า 20 ปี
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ระบบสารสนเทศด้านสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
กลยุทธ์
3.1พัฒนาระบบเครือข่ายในโรงพยาบาล 43 แฟ้ม QOF
3.2พัฒนาบุคลากรด้านสารสนเทศในโรงพยาบาล
3.3พัฒนาระบบการบำรุงดูแลรักษาและสำรองอุปกรณ์สารสนเทศเขตสุขภาพมีการดำเนินงาน Digital Transformation เพื่อก้าวสู่การเป็น
ยุทธศาสตร์ที่ 4 ระบบควบคุมโรค อนามัยสิ่งแวดล้อม
และคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ( โรคติดต่อ)
กลยุทธ์
ติดเชื้อทางเดินหายใจ sar หวัดใหญ่
ติดเชื้อทางเดินอาหารและน้ำ อาหารเป็นพิษ ท้องเสีย แมลง ตาแดง มาเลเรีย เท้าช้าง
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม Rb lepto hiv การสัมผัส ปรสิต พยาธิ ov / cca
ภัยคุกคามจากสิ่งแวดล้อม คัดกรองสารเคมี อากาศ แสง ฝุ่น ควัน
ดินถล่ม น้ำท่วม
พรบ อาหาร น้ำ ยา เครื่องสำอาง สถานประกอบการ น้ำแข็ง น้ำดื่ม
ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ
ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนิน กิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับพื้นฐาน
ขึ้นไป
ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดีขึ้นไป
ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดีมากขึ้น
ไป
ร้อยละโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินกิจกรรม GREEN & CLEAN ผ่านเกณฑ์ระดับดีมาก Plus
การลดลงของอัตราการนอนโรงพยาบาลด้วยภาวะที่ควรควบคุมด้วยบริการผู้ป่วยนอก (ACSC)
อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง (เมื่อเทียบกับค่ามาตรฐานอำเภอ)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ระบบทรัพยากรบุคคลและงานวิจัยด้านสุขภาพคุณภาพบริการ
กลยุทธ์
5.1พัฒนาระบบบุคลากร การคัดสรร คัดเลือก กำกับ และประเมินผล
5.2พัฒนาศักยภาพบุคลากรเฉพาะด้าน
5.3พัฒนาคุณภาพผลงานวิชาการผ่านเครือข่าย R2R , CQI , วิจัย
5.4พัฒนาสุขภาพบุคลากรและสร้างความผูกพันต่อองค์กร
ยุทธศาสตร์ที่ 6 ระบบการบริหารการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ
กลยุทธ์
6.1พัฒนาระบบจัดหารายได้เพิ่มและลดรายจ่าย QOF audit chart
6.2 พัฒนาระบบจัดการหนี้สิน
ยุทธศาสตร์ที่ 7 พัฒนาการฟื้นฟูสภาพและการดูแลสภาพแบบประคับประคอง
COC ผู้พิการ ติดบ้านติดเตียง กายภาพบำบัด แพทย์แผนไทย LTC
ร้อยละผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)และกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญ (Stroke , CKD , COPD) ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านโดยทีมหมอครอบครัวระดับตำบล
ยุทธศาสตร์ที่ 8 การจัดการระบบสุขภาพ
พัฒนาระบบควบคุมภายในและระบบ ITA
การจัดสรรทรัพยากร คุณภาพต่างๆ ประกวด
ร้อยละของคลินิกหมอครอบครัวที่เปิดดำเนินการในพื้นที่ (Primary Care Cluster)
28*1) ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
29*2) จำนวนหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุข
301) ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
311) ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด)
321) ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด(สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ)
33*2) ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU)
ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีระบบจัดการการดื้อยาต้านจุลชีพอย่างบูรณาการ (AMR)
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกโรคอุจาระร่วงเฉียบพลัน
ร้อยละการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างรับผิดชอบในผู้ป่วยนอกติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
ยุทธศาตร์ชาติ